1. ทฤษฎีพื้นฐานสำหรับงานนิวแมติก
2. การผลิต การจ่ายและการปรับปรุงคุณภาพลมอัด
3. หน้าที่หลักการทำงานและสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติก
3.1 อุปกรณ์ทำงานเชิงเส้นตรง
- กระบอกสูบทางเดียว
- กระบอกสูบสองทาง
- กระบอกสูบแบบไม่มีก้านสูบ
3.2 อุปกรณ์ทำงานเชิงมุม (แกว่ง)
- แบบลูกสูบหมุน
- แบบใบพัดเลื่อน
3.3 อุปกรณ์ทำงานเชิงมุม (หมุน)
- มอเตอร์ลม
3.4 อุปกรณ์สร้างและหัวจับสูญญากาศ
- อุปกรณ์สร้างสูญญากาศ เช่น Vacuum Generator และ Vacuum Pump
- หัวดูดชนิดต่างๆ
3.5 การประยุกต์ใช้กระบอกสูบสำหรับงานอื่นๆ
- มือจับ(Gripper)
- หมอนลม(Bellow cylinder)
- กันกระแทก(Shock absorber)
- กระบอกสูบกำหนดตำแหน่ง(Stopper cylinder)
- กระบอกสูบแบบแผ่น(Diaphragm cylinder)
- กระบอกสูบหนีบชิ้นงาน(Clamping cylinder)
4. หน้าที่ หลักการทำงาน โครงสร้างและสัญลักษณ์ของวาล์ว(ISO 1219)ควบคุมในระบบนิวแมติก
- ประเภทโครงสร้างของวาล์ว แบบลิ้นนั่งบ่า และแบบลิ้นเลื่อน
- วาล์วควบคุมทิศทาง
- วาล์วกันกลับ
- วาล์วควบคุมอัตราการไหล
- วาล์ควบคุมความดัน ประเภทความดันทั่วไปและประเภทความดันต่ำ
- วาล์วตั้งเวลา
5. หลักการเขียนวงจรนิวแมติก
6. การอ่านวงจรนิวแมติกสำหรับเครื่องจักรอุตสาหกรรมและอื่นๆโดยการวิเคราะห์เส้นทางการไหลของลมในวงจรนิวแมติก
7. การออกแบบวงจรนิวแมติก เพื่อควบคุมอุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติก
- แบบ Direct control และ Indirect control
- แบบใช้เงื่อนไขของระยะทาง เวลาและความดัน
- เพื่อความปลอดภัย เพื่อสตาร์ทหลายจุดและเพื่อเหตุฉุกเฉิน
8. การออกแบบวงจรนิวแมติกมากกว่า 1 อุปกรณ์ทำงาน
- Function diagram
- Alphabetic with signal flow diagram
- วงจรการทำงานสูญญากาศ
- การออกแบบเพื่อแก้ปัญหาลมต้านด้วยวิธี
– วาล์วลูกกลิ้งทางเดียว
– วาล์วหน่วงเวลา
– วาล์ว Memory
9. การตรวจสอบและแก้ไขจุดบกพร่องของระบบนิวแมติกพื้นฐานเบื้องต้น
10. เทคนิคการออกแบบวงจรระบบนิวแมติกโดยซอฟต์แวร์