การจับยึดด้วยสลักเกลียว และแรงบิดขันยึด
(Fastener and Tightening Torque)
SM-0018
ประโยชน์ที่จะได้รับ
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถขันยึดและปรับตำแหน่งการประกอบของชิ้นส่วนเครื่องจักรที่ใช้ในระบบอัตโนมัติ ได้อย่างถูกต้อง
กลุ่มเป้าหมาย
ช่างเทคนิคและวิศวกรที่รับผิดชอบดูแลในส่วนของการออกแบบ ติดตั้ง สร้างเครื่องจักรและซ่อมบำรุงชิ้นส่วนทางกลในระบบการผลิตอัตโนมัติ
วิธีการอบรม
แบบ classroom
ระยะเวลา/สถานที่
- วันที่
พุธ 14 กุมภาพันธ์ 2567
เวลา
น. สถาบันไทย-เยอรมัน
- วันที่
จันทร์ 19 สิงหาคม 2567
เวลา
น. สถาบันไทย-เยอรมัน
หัวข้อ
- ข้อดีและข้อด้อยของการจับยึดด้วยสลักเกลียว
- เกลียวแบบต่างๆและสัญลักษณ์/รหัส
- หัวนัตแบบต่างๆ
และวัตถุประสงค์การใช้งาน
- การขับแบบบีบยึด
(สลักเกลียวรับแรงคงที่)
- การขับแบบดึงรั้ง
(สลักเกลียวรับแรงไม่คงที่)
- เทคนิคการขันยึดแบบไม่ใช้ประแจทอร์คและแรงบิดขันผิดพลาดไม่เกิน
20% (สำหรับวัสดุเกลียว 8.8)
- เทคนิคการขันยึดแบบไม่ใช้ประแจทอร์คและแรงบิดขันผิดพลาดไม่เกิน
10% (สำหรับวัสดุเกลียว 12.9)
- เทคนิคการขันยึดนัตล็อคแบริ่ง
KM
และแหวน MB
- การบ่งเกลียวและการสร้างเกลียว
- เทคนิคการขันยึดหน้าแปลน