Multi-Effective Maintenance : TPM SM-0008
ในธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้เครื่องจักรเป็นหลักในการผลิตมักไม่ได้สนใจหาวิธีการใช้และบำรุงรักษาอย่างถูกต้อง ผลที่ตามมา ก็คือเครื่องจักรเสียบ่อย ต้องเสียเวลาซ่อมและเวลาการผลิต เครื่องจักรไม่มีสมรรถนะการทำงานที่ดี ผลิตชิ้นงานออกมาไม่ได้คุณภาพและมาตรฐาน ทำให้เกิดการแก้ไขงาน การส่งมอบไม่ทันเวลา และต้นทุนที่สูงขึ้น ลูกค้าขาดความเชื่อมั่น และส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว เทคนิคที่สามารถช่วยทำให้เครื่องจักรเสียเป็นศูนย์ (ต้องเสียเวลาซ่อมและเวลาการผลิต เครื่องจักรไม่มีสมรรถนะการทำงานที่ดี ผลิตชิ้นงานออกมาไม่ได้คุณภาพและมาตรฐาน ทำให้เกิดการแก้ไขงานการส่งมอบไม่ทันเวลา และต้นทุนที่สูงขึ้น ลูกค้าขาดความเชื่อมั่นและส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันในระยะยาวเทคนิคที่สามารถช่วยทำให้เครื่องจักรเสียเป็นศูนย์ (Zero Breakdown) เป็นเทคนิคการบำรุงรักษาที่เป็นความร่วมมือระหว่างพนักงานหน่วยซ่อมบำรุง และพนักงานหน่วยผลิตซึ่งถูกพัฒนาขึ้นในประเทศญี่ปุ่น และเป็นที่นิยมใช้ในประเทศต่างๆ คือการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม ซึ่งสามารถทำให้ใช้เครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิผลและพนักงานหน่วยผลิตซึ่งถูกพัฒนาขึ้นในประเทศญี่ปุ่นและเป็นที่นิยมใช้ในประเทศต่างๆ คือการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม ซึ่งสามารถทำให้ใช้เครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิผล ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาและผลิตสินค้าได้คุณภาพและปริมาณตามความต้องการของลูกค้า และเกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างฝ่ายผลิตและฝ่ายซ่อมบำรุงอีกด้วยและเกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างฝ่ายผลิตและฝ่ายซ่อมบำรุงอีกด้วย
·
เพื่อให้ทราบถึงพัฒนาการของการบำรุงรักษา
และขั้นตอนการบำรุงรักษาทวีผล
·
เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการบำรุงรักษาที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการผลิต
·
สามารถวางแผนและดำเนินการ
TPM ได้อย่างเป็นขั้นตอน
·
เพื่อให้ทราบถึงวิธีการบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง
·
เพื่อเสริมสร้างทักษะจากกรณีศึกษาจากโรงงานตัวอย่าง
ผู้จัดการและหัวหน้าฝ่ายซ่อมบำรุง วิศวกรฝ่ายผลิต
การบรรยาย กรณีศึกษา และฝึกปฏิบัติ (Mini
Workshop)
• TPM : แนวคิดและความสำคัญ
• ชนิดของการบำรุงรักษา
• การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM)
• 12 ขั้นตอน และ 8
เสาหลักในการทำกิจกรรม TPM
• ความสูญเสียหลักของเครื่องจักร (6
Big Losses)
• การวัดประสิทธิผลของ TPM (OEE)
• เสาหลักการปรับปรุงเพื่อลดความสูญเสีย (Focus
Improvement)
• เสาเหลักการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous
Maintenance)
• เสาหลักการบำรุงรักษาเชิงวางแผน (Planned
Maintenance)
• เสาหลักอื่นในการดำเนินการกิจกรรม TPM
• แนวทำงในการดำเนินกิจกรรม TPM ในองค์กร
• กรณีศึกษา และ Mini Workshop
• สรุป และถาม ตอบ
หมายเหตุ
กำหนดการและหัวข้ออาจมีการเปลี่ยนแปลงตามเหมาะสม